ภาชนะและเครื่องใช้เมลามีน มีความจำเป็นที่ต้องควบคุมคุณภาพให้ได้มาตรฐาน เนื่องจากการผลิตที่ไม่ได้มาตรฐานสามารถส่งผลให้เกิดการปนเปื้อนของสารอันตรายต่างๆ ลงสู่อาหารได้ โดยสำนักงานมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมได้ออกมาตรฐาน มอก. 2921-2562 : ภาชนะเครื่องใช้เมลามีน-ฟอร์แมลดีไฮด์ ยูเรีย-ฟอร์แมลดีไฮด์ และเมลามีน-ยูเรีย-ฟอร์แมลดีไฮด์สำหรับอาหาร : เฉพาะด้านความปลอดภัย เพื่อให้เกิดความปลอดภัยต่อผู้บริโภค
การปรับปรุงและเปลี่ยนแปลงของมาตรฐานดังกล่าวนั้น มีผลกระทบต่ออุตสาหกรรมการผลิตภาชนะและเครื่องใช้เมลามีน รวมทั้งห้องปฏิบัติการของภาครัฐและเอกชนในการเตรียมความพร้อมเพื่อรองรับมาตรฐาน และดำเนินการทดสอบที่มีความถูกต้อง น่าเชื่อถือ สอดคล้องตามมาตรฐาน ISO/IEC 17025: 2017
1. เพื่อให้ผู้เข้ารับการฝึกอบรมมีความรู้ ความเข้าใจในการตรวจสอบคุณภาพภาชนะและเครื่องใช้เมลามี
2. เพื่อให้ผู้เข้ารับการฝึกอบรมสามารถนำความรู้ไปประยุกต์ใช้งานได้อย่างถูกต้อง
หัวข้อ |
รายละเอียดหลักสูตร |
จำนวนชั่วโมง |
|
|
|
ทฤษฎี |
ปฏิบัติ |
1 |
การทดสอบความปลอดภัยของภาชนะและเครื่องใช้เมลามีน |
|
|
|
1.1 มอก. 2921-2562 : ภาชนะเครื่องใช้เมลามีน-ฟอร์แมลดีไฮด์ ยูเรีย-ฟอร์แมลดีไฮด์ และเมลามีน-ยูเรีย-ฟอร์แมลดีไฮด์สำหรับอาหาร : เฉพาะด้านความปลอดภัย |
2.0 |
|
|
1.2 การทดสอบเมลามีน |
1.5 |
|
|
1.3 การทดสอบโลหะหนัก |
1.5 |
|
|
1.4 การทดสอบฟอร์แมลดีไฮด์ |
1.0 |
|
2 |
การประกันคุณภาพของผลการทดสอบ |
|
|
|
2.1 การควบคุมคุณภาพภายใน |
2.0 |
|
|
2.2 การควบคุมคุณภาพภายนอก |
2.0 |
|
|
2.3 สถิติสำหรับการวิเคราะห์ทดสอบ |
2.0 |
|
3 |
แนวทางการเตรียมความพร้อมเพื่อขอการรับรอง ISO/IEC 17025 : 2017 |
|
|
|
3.1 ข้อกำหนด ISO/IEC 17025 |
3.0 |
|
|
3.2 การจัดทำเอกสารในระบบคุณภาพ |
3.0 |
|
4 |
ปฏิบัติการทดสอบตัวอย่าง |
|
12.0 |
|
รวมทฤษฎี-ปฏิบัติ |
18.0 |
12.0 |
|
Man-Hours |
30.0 |
-