ความใช้ได้ของการวัดสำหรับห้องปฏิบัติการด้านเคมี เป็นกระบวนการที่ทำให้ผลการวิเคราะห์ทดสอบมีความน่าเชื่อถือ และเป็นที่ยอมรับในระดับสากล โดยครอบคลุมความรู้ตั้งแต่องค์ประกอบที่ทำให้เกิดความใช้ได้ของการวัดและความสอบกลับได้ของการวัด สถิติที่ใช้ในงานวิเคราะห์ทดสอบ การตรวจสอบความสมเหตุสมผลของวิธี การคำนวณค่าความไม่แน่นอนของการวัด และการควบคุมคุณภาพ
เพื่อให้มีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับความใช้ได้ของการวัดสำหรับห้องปฏิบัติการด้านเคมี และสามารถนำไปปรับใช้ในการดำเนินงานได้อย่างถูกต้อง
หัวข้อ |
รายละเอียดหลักสูตร |
จำนวนชั่วโมง |
|
|
|
ทฤษฎี |
ปฏิบัติ |
1 |
ความใช้ได้ของการวัด, องค์ประกอบที่ทำให้เกิดความใช้ได้ของการวัด และความสอบกลับได้ของการวัด |
1.5 |
|
2 |
สถิติที่ใช้ในงานวิเคราะห์ทดสอบและวิจัย |
4.0 |
|
3 |
ภาคปฏิบัติ : ตัวอย่างและแบบฝึกหัด |
|
3.5 |
4 |
การตรวจสอบความสมเหตุสมผลของวิธี และขั้นตอนการตรวจสอบ ความใช้ได้ของวิธี |
6.0 |
|
5 |
ภาคปฏิบัติ : ตัวอย่าง/กรณีศึกษา |
|
1.5 |
6 |
ความสำคัญ และคำจำกัดความของการประมาณค่าความไม่แน่นอน |
1.5 |
|
7 |
การประมาณค่าความไม่แน่นอนของการวัด |
3.5 |
|
8 |
ภาคปฏิบัติ : แบบฝึกหัด |
|
2.5 |
9 |
QA/QC และความจำเป็นในการควบคุมคุณภาพ การปฏิบัติงานที่ดีสำหรับห้องปฏิบัติการ |
1.0 |
|
10 |
การควบคุมคุณภาพภายใน และการควบคุมคุณภาพภายนอก |
2.0 |
|
11 |
แผนภูมิควบคุม |
1.5 |
|
12 |
ภาคปฏิบัติ : กรณีศึกษา /สรุป ตอบข้อซักถาม |
|
1.5 |
|
รวมทฤษฎี-ปฏิบัติ |
21.0 |
9.0 |
|
Man-hours |
30.0 |
-